A Peaceful Mind

A Peaceful Mind
A Peaceful Mind

Tuesday, May 29, 2012

Khun Yay's Teaching

Making merit to attain a better life
นึกถึงบุญได้ ได้บุญมาก

เราอย่าคิดนะว่า อยู่ใกล้ยายแล้วจะได้บุญมาก คนที่จะได้บุญมาก คือคนที่นึกถึงบุญได้เท่านั้น เราต้องพึ่งบุญ พึ่งอย่างอื่นไม่สำเร็จหรอก ยายจะบอกให้

(P-Drk Let Ti Be)  

Sunday, May 27, 2012

Non - Attachment

The mind, to have non-attachment, 
must be clear
คำว่า

“ทิ้งทุกอย่าง วางทุกสิ่ง นิ่งอย่างเดียว”


ไม่ใช่คำที่สวยหรู แต่ต้องทำให้
ได้จริง ๆ ต้องเป็นอย่างนี้เท่านั้น

ลูกทิ้งทุกอย่างมาแล้ว มาเพื่อการนี้
มาเพื่อศึกษาวิชชาธรรมกาย
ต้องทิ้งทุกอย่างจริง ๆ

ถ้าไม่ทิ้งก็ทำไม่ได้
ใจต้องตั้งมั่น นิ่งแน่น เป็นใจที่ไม่ติดอะไรเลย

จากหนังสือ...ง่ายที่สุดถึงจุดหมาย....

Mind


"The mind itself is Buddha" 

 ถ้าแน่จริง อยู่นิ่ง ๆ เฉย ๆ แล้ว ให้องค์พระท่านมาเอง ขนาดองค์พระท่านยังทนไม่ไหว ต้องมาหา อย่างนี้เรียกว่า “นิ่งแน่” ไม่ใช่แน่นิ่ง แต่ถ้ายัง "ไม่แน่" ก็นึกถึงองค์พระท่านไปก่อน จากหนังสือ...ง่ายที่สุดถึงจุดหมาย

Clear your Mind


Buddha's Teaching

Buddha's teaching

" ความ ไม่ทำบาปทั้งสิ้น

ความยังกุศลให้ถึงพร้อม
ความทำจิตของตนให้ผ่องใส
นี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

ความอดทนคือความอดกลั้น เป็นธรรมเผาบาปอย่างยิ่ง,

ท่านผู้รู้ทั้งหลาย ย่อมกล่าวพระนิพพานว่าเป็น... เยี่ยม,


ผู้ทำร้ายผู้อื่น ไม่ชื่อว่าบรรพชิต,


ผู้เบียดเบียนผู้อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ.


ความไม่กล่าวร้าย ๑ ความไม่ทำร้าย ๑ ความสำรวม

ในพระปาฏิโมกข์ ๑ ความเป็นผู้รู้ประมาณ ใน
ภัตตาหาร ๑ ที่นอนที่นั่งอันสงัด ๑ ความ
ประกอบโดยเอื้อเฟื้อในอธิจิต ๑
นี่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. "

...........(พุทธพจน์).....................


 

Endurance

"Khanti" means endurance, refreshing to maintaining our normal condition of mind and body when affected with something unpleasant or dissatisfying

ขันติ แปลว่า ความอดทน

หมายถึง การรักษาปกติภาพของตนไว้ได้ในเมื่อถูกกระทบด้วยสิ่งอันไม่พึงปรารถนา


ความสำเร็จของงานทุกชิ้น ไม่ว่าทางโลก หรือทางธรรม คือ

อนุสาวรีย์ของขันตืทั้งสิ้น
(หลวงพ่อคุณครูไม่เล็ก)

Be not Attached to the Beloved

Be not attached to the beloved
And never with the unbeloved.
Not to meet the beloved is painful
As also to meet with the unbeloved.

อย่าติดอยู่ในสิ่งที่เรารัก หรือไม่รัก

การพลักพรากจากสิ่งที่เรารัก เป็นทุกข์
การพบเห็นแต่สิ่งที่ไม่รัก ก็เป็นทุกข์
(พุทธพจน์)
ทหารกล้าพระชินวร ฐิตะวังโสภิกขุ

Create Your Own Life

Create Your Own Life

คำว่า "บุญหล่นทับ" ไม่เคยมี
มีแต่บุญบารมีจะเกิดขึ้น เราต้องสร้างเอง
(หลวงพ่อคุณครูไม่ใหญ่)

Wat Phra Dhammakaya

Wat Phra Dhammakaya

King of Thailand


 ทรงพระเจริญ 
King of Thailand

Friday, May 25, 2012

หลวงพ่อทัตตะชีโว


หลวงพ่อทัตตะชีโว สรงน้ำแสดงมุทิตาจิตถวายแด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ณ จังหวัดกาญจนบุรี

Wednesday, May 16, 2012

Keep Doing Good Deeds

Our lives are too short:
Keep doing good deeds.

จนทรัพย์ แต่อย่าจนใจ

เราเกิดมาสร้างความดี ก็ต้องทำให้เต็มที่
เราต้องใช้วันเวลาเพื่อการนี้
... วันหนึ่งคืนหนึ่งประเดี๋ยวเดียว
หลับตา ลืมตาไม่กี่ทีก็หมดวัน
... เดี๋ยวก็หมดเวลาของชีวิตแล้ว
อย่าปล่อยให้กำลังใจของเราตกต่ำ
อย่าไปหวังพึ่งกำลังใจจากใครอื่น
หรือไปเที่ยวขอกำลังใจจากใคร ๆ
เหมือนวณิพกหรือยาจกที่ยากจนกำลังใจ
จนทรัพย์ยังพอแก้ไขได้ แต่อย่าจนใจก็แล้วกัน
คำสอนพ่อ
(Phra Sombat Summapalo)


 

The Master Monks at Wat Phra Dhammakaya

Our Luang Phors
 
สองผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ที่ใหญ่ด้วยการให้ ด้วยใจที่แข็งแกร่งดั่งภูผา ::

กราบแทบเท้า พระเดชพระคุณหลวงพ่อทั้งสอง ด้วยความเคารพอย่างสูง


(ภาพนี้สแกนจากกระดาษอัดภาพสี สันนิษฐานว่า ย้อนไปประมาณ 20 ปี)

(Shared: Somsak Piyaseelo)

Be Your Purpose

Be Your Purpose Now

สิ่งใดที่ทำได้ยาก แต่เราทำได้

นั่นคือ ความปีติและภาคภูมิใจทุกครั้ง ในยามที่เราระลึกนึกถึง
เสาร์ 01 ม.ค. 48 โอวาทพระเทพญาณมหามุนี


Real Beauty on the Inside

Real beauty on the inside

เพราะสังคม ประเมินค่า ที่จนรวย

คนจึงสร้าง เปลือกสวย ไว้สวมใส่

หากสังคม วัดค่า ที่ภายใน

คนจะสร้าง แต่จิตใจ ที่ใฝ่ดี
(Chin Siri)

The mind is everything. What you think you become. Buddha

Beauty is not in the face; beauty is a light in the heart Kahlil Gibran 

The most beautiful things in the world cannot be seen or even touched, they must be felt with the heart Helen Keller 

“Beauty is how you feel inside, and it reflects in your eyes. It is not something physical.” ~Sophia Loren



Nobody can Exist

Nobody can exist.

การไม่พลัดพรากจากสิ่งที่เรารัก "เป็นไปไม่ได้"

(Chin Siri)

How to Meditation

Find the posture that is comfortable & feel as comfortable as possible, and ease your mind. "


สติกับสบายทั้งสองจะต้องไปคู่กันตลอดเส้นทาง ตั้งแต่เบื้องต้นจนกระทั่งถึง ที่หมายปลายทาง ถ้าไปด้วยกันเมื่อไรจะทำให้ใจเราหยุดนิ่งได้ง่าย ... และหลังจากใจเราหยุดแล้วก็จะเข้าถึงดวงธรรมภายใน หลักก็มีอยู่อย่างนี้ อย่านั่งแบบขุ่นมัวเร่าร้อน หรือนั่งแบบฮึดฮัดอย่างนี้ไม่ได้ผล จะต้องทำอารมณ์ให้สบายๆ" …

หนังสือ:ง่าย...แต่...ลึก !!! (Phra Sanitwong)



The Dhammakaya Meditation

To attain the Dhammakaya: This is the only way that we are able to attain true happiness and Nirvana.

พระรัตนตรัยมีคุณไม่มีประมาณ

เข้าถึงได้จะมีความสุขทั้งในปัจจุบัน
ละโลกแล้วก็นำไปสู่สุคติโลกสวรรค์
(Phramaha Tamnusombat)



 

Who am I?

“All that we are is the result of what we have thought. The mind is everything. What we think we become.” (Buddha)

เราคือใคร


ถาม หลวงพ่อครับ ทำอย่างไรจึงจะรู้จักตัวเอง ว่าจริงๆ แล้ว เราเป็นคนอย่างไร แล้วควรจะทำตัวอย่างไร?


...
ตอบ คนจะรู้จักตัวเองได้ จะต้องเป็นคนศึกษาธรรมะมาก
และช่างสังเกต เพราะฉะนั้น ถ้าอยากรู้จักตัวเองจริงๆ ละก็
ต้องตั้งใจทำ ๓ อย่างนี้

๑. ต้องปลีกเวลาศึกษาธรรมะ ในพระพุทธศาสนา
ให้รู้ว่ามาตรฐาน ของคนดี ตามพุทธนิยมเป็นอย่างไร
เพราะนั่น เป็นมาตรฐานที่ถูกต้องโดยธรรม ไม่ใช่โดยทางโลก
เมื่อรู้แล้วก็ปฏิบัติตามนั้น

๒. อย่าเสียเวลาไปจับผิดคนอื่น เพราะมันไม่เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
มิหนำซ้ำ ยังทำให้ใจเศร้าหมอง ตรงกันข้าม ให้หมั่นสังเกตความประพฤติ
ที่ดีงามของของผู้อื่น แล้วนำมาปฏิบัติตามให้ได้เต็มกำลัง

๓. ต้องสละเวลาสำรวจข้อบกพร่อง ของตนเองเป็นประจำ
วิธีสำรวจข้อบกพร่องของตนเอง ง่ายที่สุดคือ หมั่นนั่งสมาธิเป็นประจำ
ทุกคืนก่อนนอน โดยไม่มีข้ออ้างใดๆ เมื่อพบข้อบกพร่องแล้วพยายามแก้ไขเสีย
เช่น....
ถ้าพบว่าตนเองเห็นแก่ได้อยู่ ก็รับให้ทานเสีย
ถ้ายังมักโกรธอยู่ วันธรรมดาก็ให้ถือศิล ๕ วันพระก็พยายามถือศิล ๘
ถ้ายังอาฆาตพยาบาท ก็ให้แผ่เมตตามากๆ

การแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง เป็นหน้าที่ของมนุษย์ทุกคน
วันใดที่เราแก้ไขตัวเองจนดีที่สุด สมบูรณ์ที่สุด จนเราหมดกิเลสแล้ว
วันนั้นแหละ "เราได้ทำหน้าที่ ของเราสมบูรณ์ที่สุดแล้ว"
(หลวงพ่อทัตตะชีโว คุณครูไม่เล็ก)


 

Tuesday, May 15, 2012

Luang Pu

 Our Luang Pu

มีเงินเขานับเป็นน้อง มีทองเขานับเป็นพี่

แต่หล่อ "หลวงปู่องค์นี้"
นับเป็นทองแผ่นเดียวกับท่าน
ติดตามท่านไปสู่ที่สุดแห่งธรรม
(Phramaha Tamnusombat)

 

Thursday, May 10, 2012

Nothing Exists

Nothing Exists

บุญพอใจ


อย่าได้คาดหวังวัตถุใดๆ จากโลกใบนี้เลย

เพราะในที่สุดแล้วยังไม่เคยมีใครเอาอะไรๆ จากโลกใบนี้ไปได้เลย

และอย่าได้เสียใจกับความผิดหวัง พลัดพราก
ถ้าไม่จากวันนี้ วันหน้าก็ต้องจากอยู่ดี 
 (Chin Siri)

 ศาสตร์ทุกศาสตร์ที่เรียนมาในโลกนี้
ช่วยอะไรเราไม่ได้เลย
แม้ยามที่เราอยู่บนเตียงผู้ป่วย

แต่บุญบารมีที่สั่งสม
โดยไม่มีข้อแม้ ข้ออ้าง และเงื่อนไข
สามารถช่วยเราได้
(หลวงพ่อคุณครูไม่ใหญ่)


 เรียนใดฤๅจักสู้...............วิชชา
เรียนอื่นของมารา...........เขานั้น
เรียนหยุดพุทธศาสนา......พาหลุด
พ้นจากมารบีบคั้น...........กลั่นแกล้งอนันต์กาล

ตะวันธรรม

 You can make yourself happier

สุขกับทุกข์ มีเส้นบางบาง คั้นเอาไว้

อยู่ที่ใจ เราจะเลือก คิดแบบไหน
ยามเจอทุกข์ ให้หยิบทุกข์ มาสอนใจ
พิจารณาไป จะเห็นสุข จะเห็นธรรม

ยามมีสุข ให้หยิบสุข มาสอนจิต
ตามพินิจ ดูสุขนั้น อย่าถลำ
สุขเกิดดับ เหมือนตัวทุกข์ เช่นเดียวกัน
หลงยึดมั่น กับตัวสุข จะทุกข์ตรม

(กัลยาณธรรม ต่างแดน)


True Happiness within you

ความสุขที่หยุดได้..................ในกลาง

เป็นสุดสุขตามทาง.................พุทธเจ้า
สะอาดสงบสว่าง....................พราวแผ้ว
หยุดนิ่งทุกค่ำเช้า....................จักได้สุดธรรม

ตะวันธรรม
Happiness comes from within

การรอความสุข จากคน สัตว์ สิ่งของ ไม่แน่นอน มีผิดหวัง สุข มีทุกข์
แต่ ความสุข ที่อิสระ จากคน สัตว์ สิ่งของ เที่ยงแท้แน่นอน
สุขใด หรือจะสู้สุขจาก ความสงบภายใน
(Sun Nanakon)
Improve Yourself Daily

เมื่อเขาว่า...อย่าโกรธลงโทษเขา

ในเมื่อเรา...ไม่ได้เป็นเช่นเขาว่า
หากว่าเรา...เป็นจริงจังดั่งวาจา
เมื่อเขาว่า...อย่าโกรธเขาเราเป็นจริง
(Shared: Phramaha Tamnusombat)


Change the World (11 languages) by Howard McCrary


Change the World (11 languages) by  Howard McCrary

Keep Moving Forward

Keep Moving Forward
อย่าเสียกำลังใจ


จะเสียอะไร

ก็เสียไป
แต่อย่าเสียกำลังใจ
อย่าน้อยใจ คิดมาก
อันเป็นเหตุให้ใจของเรา
ไม่ผ่องใส...ปฏิบัติธรรมไม่ก้าวหน้า

ตราบใด้ที่เราเกิดมาสร้างบารมี
ไม่มีภพชาติไหน ที่ไม่เจออุปสรรค
ตราบใดที่เชื้อพาล ยังไม่หมดไปจากใจของมนุษย์
เราย่อมเจอกับอุปสรรค
(อยู่ในบุญ)


"ผู้ใดไม่ละเมิดความยุติธรรม
เพราะความรัก ความชัง ความโง่เขลา และความกลัว

ยศของผู้นั้น ย่อมเด่นดุจดวงจันทร์
เปล่งแสงสว่างในข้างขึ้นทุกค่ำคืน
(พุทธพจน์)

To take refuge in the Three Jewels:
The Buddha, the Dharma, the Sangha

ไม้จันทร์แม้แห้ง ยังไม่สิ้นกลิ่นหอม
อ้อยแม้ถูกหีบ ยังไม่สิ้นรสหวาน
เกลือแม้ถูกสะตู ยังไม่สิ้นรสเค็ม
บัณฑิตแม้ตกทุกข์ ยังไม่เลิกประพฤติธรรม
 

 การประพฤติธรรม คือการประพฤติปฎิบัติตนตามธรรมะที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอน
(หลวงพ่อทัตตชีโว)

Luang Phor Dhammajayo's Teachings & Letter written by Howard McCrary

To clear the mind of thoughts and gain inner peace

ใจละเอียดจึงเห็น


อย่าคาดหวังว่า เราจะต้องเห็นโน่น เห็นนี่ หรือเห็นอะไรอย่างที่เราเคยได้ฟังมา ตอนนี้ในเบื้องต้นแค่ว่า ให้ใจคุ้นกับศูนย์กลางกาย ฐานที่ ๗ แล้วก็ทำหยุดทำนิ่งให้เป็นเสียก่อน ใ
ห้ได้ปีติสุขที่เกิดจากสมาธิ ให้ได้ตรงนี้เสียก่อน แล้วสิ่งที่เราจะเห็นภายในก็จะเป็นขึ้นมาเอง

เพราะว่าสิ่งทั้งหลายมีอยู่แล้วในตัวเรา ไม่ต้องไปแสวงหาหรือไปควานหาอะไร เพียงแต่สิ่งเหล่านั้นเป็นของละเอียด ใจเราต้องละเอียดเท่ากับสิ่งนั้น จึงจะเห็นกันได้

(เมื่อไม่รู้จะ อ่านอะไร ๒)
Luang Phor Dhammajayo

 Mara, the evil one

ความรู้อะไรโลกขาดไปเธอรู้ไหม

ธรรมกายไงหายไปราวกับฝัน
พญามารกลัวรู้ทันเลยปิดกั้น
เป็นชั้นชั้นนับชั้นไม่ถ้วนเลย

... จนกระทั่งหลวงปู่ลงมาเกิด
ทุ่มชีพเปิดหนทางหยุดนิ่งเฉย
มารสะดุ้งทั้งภพรบกันเลย
อย่างที่เคยรบกันมาเวลานาน

เวลานี้ไม่มีใครแพ้ชนะ
แต่ธรรมะต้องชนะเหมือนคำขาน
แม้จะรบกันต่อไปชั่วกัปป์กาล
ก็จะขอปราบมารจนสูญพันธุ์

- ฝันในฝัน 19 กย 54



Life on purpose

"จะขอหยุดพักก่อน" ความคิดอย่างนี้
จะต้องไม่มีอยู่ในหัวใจของนักรบกองทัพธรรม
ไม่มีอยู่ในพจนานุกรมของนักสร้างบารมี
ผู้มุ่งไปสู่ที่สุดแห่งธรรม

เราต้องสร้างบารมีกันทุกวันทุกคืนตลอดเวลา
เราต้องทำความเข้าใจความจริงที่ว่า
โลกใบนึ้ไม่ใช่โลกแห่งการเสวยบุญหรือเสวยสุข
แต่เป็นโลกแห่งการสร้างบารมี เมื่อมีบารมีมาก
เราก็จะทำพระนิพพานให้แจ้งได้
พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย)



Letter written by Howard McCrary to Luang Phor Dhammajayo (December 15 2010) 

 

Dearest and Most Venerable LuangPhor and Our blessed Dhammakaya Family,

To think that I have lived to see the day that the world would change means that my living has not been in vain.

Last night as I witnessed the greatest event of my life, I stood there in utter awe and amazement as history unfolded before my very eyes. The wisdom of our Holy Father Luang Phor is beyond searching. By providing a powerful moral and ethical foundation for this army of devoted young people a dynamic shift of consciousness took place on planet earth last night that is irreversible. I stood there in the wake of this tidal wave of resounding principles and values stirred in the hearts of these dedicated young people and was completely overwhelmed by their allegiance to change the world as they sang the song you asked me to write with you.

Whenever there is a movement if there is a musical heart cry of a theme, then it causes the momentum to become an unstoppable force, a movement of good to be reckoned with. I shook with delight as I heard them sing in all the languages of the world as in the production Ivy and I originally produced from our hearts by your design. 

At the same time I felt the presence of my dearly departed father on stage with me smiling as if he knew the only way he could be there was in spirit, to comfort and acknowledge my contribution to the greatest moral movement in the history of our world. So I felt he passed away just days before this event so he could be right by my side with his arm around me as the children sang. Saying “ Sathu my boy, Sathu!”


Most Beloved LunagPhor, all the credit and praise belongs to you for this inspiring world anthem of hope.

Without your vision and direction, this could not be possible. When the music came to me, I was nothing more than an instrument being masterfully played by your divine hand. Every note of this song came through me … not from me. In all my compositions, nothing has ever been written quite in this way, with this melody and with this arrangement.

Most Venerable and Most Wise LuangPhor, If I should die today I want you to know that I have seen the mountaintop of my purpose for living in this world. Now I know why I was born, why Ivy devoted her life to helping me for worldpeace and why I was so privileged and honored to meet you. Because you called me “my son”, this caused me to meditate and live my life a certain way so that such a song could come from a divine realm to touch the hearts of these pure children. This song could not come from a heart pickeled in alcohol or lost in delusion. My Father… you have changed me so that I may help to change the world.

I love you my Father.
With all of my heart and dedication,


Howard McCrary (devoted son of LuangPhor)

Buddha Quotes



 The law of nature for all things is arising in the beginning, changing in the middle, and ceasing in the end.

กฎธรรมชาติของสรรพสิ่ง คือ เกิดขึ้นในเบื้อ
ต้น เปลี่ยนแปลงในท่ามกลาง และดับไปในที่สุด

Phramahachanya Khongchinda

 
 Love can be changed to be hatred when time passes except there is no love, there will have no hatred.

ความรักอาจจะเปลี่ยนเป็นความชังได้ เมื่อเวลาผ่านไป นอกจาก ไม่มีความรัก นั่นแหละ ความชังจักไม่มี

(Phramahachanya Khongchinda)



The Wheel of Dhamma Spread Around the World
“ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวจาริก

เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนหมู่มาก
เพื่ออนุเคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้อกูล
และความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์

พวกเธออย่าได้ไปร่วมทางเดียวกันสองรูป
จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น
งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ
พร้อมทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์”
(วินัยปิฎก มหาวรรค ปฐมภาค ข้อที่ ๓๒/๓๙)
(Phramaha Tamnusombat)



“You yourself, as much as anybody in the entire universe, deserve your love and affection.” (Buddha)
เราคิดค้นหาทุกทิศแล้ว ก็ไม่พบผู้อื่นซึ่งเป็นที่รัก

ยิ่งกว่าตนในที่ไหน ๆ ถึงผู้อื่นก็มีตนเป็นที่รักมากอย่างนี้

เพราะฉะนั้น ผู้รักตนจึงไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น

(สํ.ส.๑๕/๑๐๙)
(Phra Sombat Summapalo)

Khun Yai Ajahn Maha Ratana Upasika Chandra Khonnokyoong

 Khun Yai's Goal



มโนปณิธานของ คุณยาย

"ตลอดชีวิต ยายตั้งใจฝึกตัวเองมาตลอด

แล้วก็พบว่า สุดยอดของการฝึกตัวเองนี่
ไม่มีอะไรเกินการเจริญภาวนา

ถ้ารักยายจริง อย่ามาเสียเวลาร้องห่มร้องให้

ถึงอย่างไรยายก็ไปดี ยายดิ่งเข้ากลางพระธรรมกายมาตลอดชีวิต
ใจยายไม่เคยถอนไปไหนกับเขาเลย

ขอให้ประคับประคองหมู่คณะให้ดี
เอาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลกให้ได้
เพราะว่ายายรับปากกับหลวงพ่อวัดปากน้ำท่านเอาไว้
เพราะ วิชชานี้ เป็นแก่นแท้ของชีวิต
สามารถช่วยคนทั้งโลก ให้พ้นห้วงทุกข์
แห่งการเวียนว่ายตายเกิดได้

ยายเตรียมทุกอย่างให้พวกท่านแล้ว..
เพราะฉะนั้น ประคับประคองหมู่คณะกันให้ดี
แล้วก็ตั้งใจปฎิบัติเองด้วย
ให้เข้าถึงวิชชาธรรมกายให้ได้
รีบตามยายมาให้ทัน
แล้วก็ขนชาวโลกตามมาเยอะๆ ด้วย"


Memorial Hall of Khun Yai Ajahn - founder of Dhammakaya International 

 

Khun Yai Ajahn Maha Ratana Upasika Chandra Khonnokyoong was a Thai Buddhist upasika and nun (maechee) who founded one of Thailand's and the world's largest contemporary Buddhist organizations - Dhammakaya International.


She was a meditation and Dhamma student in the tradition of Dhammakaya meditation master Loung Por Sod (Phra Mongkolthepmuni) who named her as the foremost of his students; she then becoming one of the world's most widely followed contemporary Buddhist teachers. The Dhammakaya Chedi or chetiya was built in her teacher's honor and named after him.

Khun Yai was born in 1909 and passed away in the year 2000 at the age of 91 after engaging in extensive meditation practice, Dhamma teaching and great acts of merit, including the construction of Wat Phra Dhammakaya (Wat Voranee Dhammakayaram), the largest temple/monastery in Thailand with more than 3,000 monks, nuns and laymen and laywomen in residence. The temple's foundation stone was layed in 1977 by HRH Princess Mahacakri Siridhorn on behalf of His Majesty the King of Thailand.

Khun Yai Ajahn's memorial monument, a great pyramid hall, is located at the main Dhammakaya center in Pathumthani just north of Bangkok. One hundred thousand monks from 30,000 temples around Thailand together with very many lay students participated in her memorial service.
The Dhammakaya Movement founded by Khun Yai Ajahn and her student Loung Por Dhammajayo has founded meditation centers in eighteen countries with millions of people in Thailand and internationally practicing Dhammakaya meditation, which is promoted by a Buddhist satellite network called Dhamma Media Channel with 24-hour a day meditation teachings broadcast to its audience worldwide. 
The Dhammakaya Movement has also produced a CDROM of the Tipitaka in conjunction with the Pali Text Society in the year 1995, and by the year 2000 (the year that Khun Yai Ajahn passed away), Wat Phra Dhammakaya's students were the most successful Pali students in Thailand.



Wednesday, May 9, 2012

Clearing Your Mind

 Clearing Your Mind



"อย่าไปเอาความชั่วของคนอื่น,
    มาเป็นทุกข์ในใจเรา"

Vesak Day


Vesak Day : Lord Buddha Day
Visakha Puja (Vesak) 2549 B.E.
Meditation & Circumambulation
In Homage to the Lord Buddha
Around the Grand Meditation Amphitheatre
As the moon turns full on the sixth lunar month, Buddhists worldwide enjoy the arrival of Vesak Day. Vesak Day is the Buddha Day. It represents a simultaneous celebration of the birth, enlightenment and the passing into nibbana of the Lord Buddha. The three occurrences fall on the same full moon day of the sixth lunar month.
 On this day, Buddhists attend religious ceremonies and perform many meritorious acts.



Vesak Day is the day to pay homage to the Lord Buddha. Make Vesak Day 4th June, 2012 at Wat Phra Dhammakaya in Thailand this year another best day in your life. Come and be part of the best day of the world. Enjoy each unique meritorious event from dawn to dusk. Bring light of peace with you and share happiness to everyone.






Dhammakaya Meditation

Dhammakaya Meditation on the Vipassana Level



Dhammakaya meditation embarks on the Vipassana level at a later stage than some other meditation schools available in Thailand. In this school, insight relies on purity of ‘seeing and knowing’ (ñānadassana-visuddhi) i.e. a mind that is stable, and has penetrative insight into the reality of life and the world. Such insight will allow the meditator to have penetrative knowledge of the Five Aggregates (khanda) , the Twelve Sense Spheres (āyatana) , the Eighteen Elements (dhātu) , the Twenty-Two Faculties (indriya) , the Four Noble Truths and Dependent Origination. The meditator sees and knows clearly through their insight knowledge that all things composed of the Five Aggregates exhibit the Three marks of existence and for the meditator, there arises dispassion (ekantanibbida] and detachment (viraga) and accomplishes sequential shedding of the defilements until an end to defilements can be reached.


The meditator sees and knows with the latter four of the five eyes the Buddha himself attained - but in Dhammakaya Meditation, the level of attainment is usually explained in terms of equivalent inner bodies which start with the physical human body and the subtle human body (astral body or subtle body) and which go in successively deeper layers until reaching the body of enlightenment (Dhammakaya) of the arahant - the number of bodies totalling eighteen.


Five Eyes of the BuddhaDhammakaya Meditation
Equivalent Inner Bodies
Equivalent jhana level
physical eye (mamsacakkhu)physical human body
subtle human body
first jhana
angelic eye (dibbacakkhu)coarse angelic body
subtle angelic body
second jhana
eye of wisdom (paññâcakkhu)coarse form brahma body
subtle form brahma body
third jhana
eye of omniscience (samantacakkhu)coarse formless brahma body
subtle formless brahma body
fourth jhana
Buddha-eye (Buddhacakkhu)/ Dhamma-eye (Dhammacakkhu)coarse Gotrabhu Dhammakaya body
subtle Gotrabhu Dhammakaya body
coarse stream enterer Dhammakaya body
subtle stream-enterer Dhammakaya body
coarse once-returner Dhammakaya body
subtle once-returner Dhammakaya body
coarse non-returner Dhammakaya body
subtle non-returner Dhammakaya body
coarse arahant Dhammakaya body
subtle arahant Dhammakaya body
paths and fruits of Nirvana

The process of purification corresponds with that described in the Dhammacakkapavattana Sutta where the arising of brightness is accompanied by the inner eye [cakkhu], knowing [ñāna], wisdom [paññā] and knowledge [vijjā].  The meditator will see the nature of the Dhamma (inner mental phenomena) and according to the Lord Buddha’s advice to Vakkali he who sees the Dhamma will see the Buddha (see also Eternal Buddha). Thus, in Dhammakaya meditation, the Buddha's words are taken literally as seeing one's inner body of enlightenment which is in the form of a Buddha sitting in meditation.
read more



Parinibbana of Lord buddha

Parinibbana

 

Lord Buddha was a most energetic and active teacher, His daily routine was fully occupied with religious activities. They were divided into five parts, (i) the Morning Session, Alms Round; (ii) the Afternoon Session, Deliver Discourses to the Laities; (iii) the Night Session, Coaching the Monastic Disciples; (iv) the Mid-Night Session, Answer Queries from the Celestial Beings; and (v) the Dawn Session, Survey the World with His Divine Eyes for Potential Person to Receive His Transcendental Aid. The Great Teacher provided guidance with magnificent determination without any discrepancies, leading to an exponential increase in the number of followers.


The teaching of Lord Buddha is capable of transforming a mundane life to that of a sublime. His remarkable teachings are indeed impressive and incomparable because He had presented the truths of life in a sensible and realistic manner for all to practice. Moreover, the knowledge expounded over 2500 years ago is still relevant and applicable now. For instance, the details of human birth from conception to delivery were well elucidated by the Lord Buddha way before the advent of ultrasound technology. Most importantly, those who practice the teachings were guided to attain higher wisdom and insight.


The Lord Buddha worked tirelessly over the span of 45 years to propagate Buddhism widely for the benefit of all beings. During His stay at the Pavala Cetiya on the 15th day of the 3rd waxing moon, the Lord Buddha foretold that He will enter complete Nibbāna three months later. From then on, the Great Teacher continued to expound His teachings relentlessly to ensure that Buddhism is firmly rooted in this earth so that all beings could still benefit from His Teachings for longest possible after His departure.

The Lord Buddha was genuinely a great teacher up till the moment prior to His departure. He had compassionately granted permission for the Sangha to assemble and checked consecutively three times  if the disciples had any doubts on the Buddha, the Dhamma, the Order (Sangha), the Path and the Method. None replied. Then, Lord Buddha delivered His final teaching: “Behold, disciples. Subject to change are all component things, do not be reckless.” The Lord Buddha did not appoint any successor, He then spoke to Ananda

 “Ananda, for what I have taught and explained to you as Dhamma and Discipline will, at my passing, be your teacher.”

Upon delivering His final advice, the Lord Buddha attained complete Nibbāna near dawn on the on the 15thth waxing moon, at the age of 80; exactly on the date foretold. The Lord Buddha attained Parinibbāna in a most dignified manner through His meditative attainment. The entire sacred process was witnessed by Venerable Anuruddha who was known for his well developed Divine Eye. On the 8th day of the 6th waning moon, seven days after the Lord Buddha attained complete Nibbāna, His holy body was cremated. After the Lord Buddha attained Parinibbāna, kings from eight different kingdoms came to request for a share of the Holy relics which would be worshipped by the Buddhist laities. King Sakka received a portion of the Holy Relics and enshrined them inside the Culamani Cetiya in the Tāvatimsa Realm where they are worshipped by the Celestial Beings. day of the 6

The Lord Buddha had strived till the very last moments of His life for the sake of all sentient beings. The Enlightened One led a beautiful, impeccable, and crystal clear life from Birth, Self-Enlightenment to Parinibbāna which occurred on the same day on the 15th day of the 6th waxing moon.